พระรัตนตรัยแม่แบบ สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ ๕๐๐-๖๐๐. AD I-II มีอายุกว่า  ๒,๐๐๐ ปี องค์แรก ในโลก

                ๊ วัตถุล้ำค่าเส้นทางแลกเปลี่ยน พระรัตนตรัย-อุเทสิกเจดีย์: PHRA RATANA TRI OR UTHESIK CHEDI,         ( OUTSTANDING BUDDHISM UNIVERSAL VALUE) " สร้าง A.D. I-II ( พ.ศ. ๕๐๐-๖๐๐)

พระพุทธรูป

ปางปฐมพระรัตนตรัย
ปฏิมากรรมพระบรมรูปเหมือนจริง
โคตมพุทธเจ้าพร้อมคุณธรรมและสาวก
ศาสดาของพุทธศาสนา
   Triple Gem
Realistic royal statue
Guatama Buddha with virtue and disciples

The Phophet of Buddhists
    Sustainable of Buddhism.

                                                                       "เรื่องเล่าผ่านลงมือทำ"

                  *มรดกโลก มรดกธรรม เมืองเก่าเทอร์เมส: Buddha Prayer in Old Termez*

                   Triad Buddha was portrayed  at most symptoms of Buddhism  heroic

                                                                        

*พระพุทธรูป ปางปฐมรัตนตรัย  "สามรัตน"  ศิลปะของชาติเฮเลนเนส  รูปแกะสลักดังกล่าวได้สะท้อนถึงความเป็นจริงและแสดงถึงความตั้งใจในการสร้างสัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนาที่เชื่อมโยงกับการเกิดการมีขึ้นของพระรัตนตรัย

เป็นศิลปะยุคคลาสสิคกริกเชื่อมยุคเฮเลนนิสติค สร้างขึ้นผ่านจิตสำนึกที่สะท้อนความเป็นจริงที่มีอยู่จริงเป็นศิลปะเฉพาะของชาติถ่ายทอดศิลปะให้แก่วัฒนธรรมอีกวัฒนธรรมหนึ่ง  มีลักษณะพิเศษคิอความกลมกลื่นที่จำกัด ความงามตามสัดส่วน  ความสมบูรณ์แบบ   ยังเป็นการ "ต่ออายุ" ของประติมากรรมกริกเป็นหนึ่งเดียวของจักรวรรดิกุษาณะในอาณาจักรของพระองค์ ไห้ดำรงคงอยู่ไว้เป็นที่เคารพบูชา-ทุกพุทธนิกาย-รูปลักษณ์อนุสาสนีอุเทสิกเจดีย์

เป็นสัญลักษณ์เพื่อระลึกนึกถึงและเคารพ  ประดิษฐานไว้ที่ศูนย์กลางภาคเหนืออาณาจักรแบคเตรีย  ขุดค้นพบหนึ่งเดียวในโลก จังหวัด สุกานดาร์ย่า สาธารณรัฐ อุซเบกิสถาน
                                               

รัตนตรัย-พระรัตนตรัย หรือพระไตรรัตน์: เป็นที่พึ่งที่ระลึกอันสูงสุด ยิ่งไปกว่านี้ไม่มีอีกแล้ว  

   พระพุทธรัตนตรัย-พระพุทธปางปฐมรัตนตรัย-พระพุทธรูปปางปฐมรัตนตรัย

     ทั้งสามพระนาม สื่อสากลหมายถึง: TRIAD BUDDHA;( Tri-Image-AD) หรือ TRIRATNA; บาลี "พระรัตนตรัย"

 *พระพุทธรูป:  หรือ พระพุทธปฏิมากร คือ รูปเปรียบต่างแทน หรือ รูปสัญลักษณ์แทนองค์พระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็นพระศาสดาแห่งพุทธศาสนา สร้างตามลักษณะมหาบุรุษ 32 ประการ ในมหาปุริสลักษณะ มิใช่การทำให้เหมือนองค์พระพุทธเจ้า

* ปางปฐมรัตนตรัย: คือเอกลักษณ์ คุณลักษณะ และอิริยาบถ ซึ่งสร้างขึ้นโดยช่างสมัยกรีกโบราณ สมัยเฮเลนนิสติค( C.330 –17 B.C. ) ประติมากรรม Hellenistic เป็นการนําเอา ศิลปะของชาติและอารยธรรมพุทธมาผสมด้วย ตามตำนาน ตามความเชื่อเทพเจ้ากรีกเฮเลน  เป็นบรรพบุรูษเฮลเลเนส (Hellenist  Native Figurative Tradition) เชื่อมโยงสัมพันธ์พุทธประวัติ 

 * สถานที่สร้างขึ้นไห้เป็นศูนย์รวมจักรวาล ( the Embodiment of the Universe )

*สร้างขึ้น:  เพื่อน้อมรำลึกนึกถึงพระพุทธคุณ  เพื่อเคารพสักการะบูชาแทน- เพื่อน้อมนำจิตใจ ให้ประพฤติปฏิบัติชอบ ตามคำส้่งสอนของพุทธพระองค์  ตราบใดที่ยังปรากฏพระพุทธรูปอยู่   -

พุทธคุณ หมายถึงว่า * พระรัตนตรัย*  อันเป็นหลักสำคัญของพระพุทธศาสนายังคงสานต่ออยู่บริบูรณ์สมบูรณ์ เป็นเครื่องสร้างศรัทธาแก่พุทธศาสนิกชนทั่วไปเลื่อมใส  อุปถัมภ์บำรุงพุทธ ศาสนาสืบสานต่อตลอดกาลไป

 

   พระพุทธรูป: พระรัตนตรัยอุเทสิเจดีย์ปางปฐมตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า  มีเศวตฉัตรคือโพธิมุขปาฐะ เป็นเบื้องต้นนำเหตุ, สื่อหมายถึง โพธิปักขิยธรรม ๓๗-(มาเป็นพระไตรปิฎก) และสัญลักษณ์รูปเปรียบต่างแทนสาวกสงฆ์ผู้ประพฤติปฏิบัติประจักรเป็นพยาเห็นเป็นจริงครบองค์(พระพุทธ-พระธรรม-พระสงฆ์)  แม่แบบเอกลักษณ์สัญลักษณ์ "รัตนตรัย" สะท้อนความจริงเป็นอยู่จริงตามศิลปะดั้งเดิมเฮเลนนิส กริก-องค์แรกในโลก( ยกนำมาเปลี่ยบยุค-Digital World: TRIAD IMMOTAL; 

                                TRUST >SOLIDARITY  -HARMONY  -PEACEFULLY<

  สร้างเป็นสิ่งที่ระลึก "รัตนอุเทสิกะเจดีย์" เพื่อเคารพเปรียบต่างแทนสืบทอดคำสอนเป็นไปเพื่อรำลึกนึกถึงสิ่งบูชาสูงสุด

  Dr.Phansak Boonyasopholphong. Ph.D
-ที่ปรึกษาด้านพระพุทธศาสนาในเอเชียกลาง
-Surkhandarya Pilgrimage Tourism Ambassador in Thailand

            ความเป็นมาและสุนทรีย์ภาพ พระพุทธรูป ครบองค์สามรัตนตรัย (อุเทสิกเจดีย์) กับมหาบุรุษลักษณะ" องค์แรกในโลก

                                                     

*อุเทสิกะเจดีย์ คือสิ่งที่สร้างขึ้นโดยเจตนาอุทิศแก่พระพุทธเจ้า  รำลึกนึกถึง-โคตมพุทธเจ้าผู้เป็นต้นกำเนิดเกิดขึ้นเป็นคำสั่งสอน-ศรีมหาโพธิก้าน-กิ่ง-ใบเป็นเสมือนสิ่งรำลึกที่บำเพ็ญเพียรตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ-สาวกสงฆ์ผู้ประพฤติดีปฏิบัตชอบ  รวมครบองค์สาม เป็นสัญลักษณ์เครื่องหมายสิ่งเคารพบูชา แห่งพระพุทธศาสนาสูงสุด

* พุทธปฏิมาศิลปะกรรม; นำเอาศิลปะของชาติ (Hellenes) ศิลปะเฉพาะ Hellenistic กริกโบราณผสมอารยะธรรมปรัชญาพุทธศิลปะ Native figurative Tradition Ancient Greek sculpture ไม่ว่าจะมองมุมไหน ส่วนต่าง ๆของรูปเป็นสุนทรียภาพ (aesthetics) ความงามตามธรรมชาติ  ศิลปะที่บุคคลสามารถเข้าใจและรู้สึกได้ สง่าสงบอารมณ์ "หินเศวตศิลาแกะสลักรัตนองค์สามต่างแทนเป็นอุเทสิกะเจดีย์มีความพิเศษด้วยเหตุผลหลายประการ  เช่นเทคนิคการแกะสลัก การแสดงออกทางองค์ประกอบ ทั้งความหมายของอาอรมณ์บริบททางประวัติศาสตร์ ฯลฯ ตามแม่แบบของกริกโบราณ ตามตำนาน ตามความเชื่อแห่งเทพเจ้า  ลองมองไปที่โพธิ กิ่ง-ก้านใบ ไม่ว่าจะมองมุมไหน ก็มีหลักนัยทางโพธิปักขิยธรรม เป็นอารมณ์ 

จากความสมจริงทางกายวิภาคแล้ว ศิลปินเฮลเลนิสติกยังนำเสนอลักษณะเฉพาะของเรื่อง  มีความเหมือนจริงโดยเน้นที่การถ่ายทอดตามศิลปะ Hellenistic & Buddhist Art จำเป็นต้องพรรณนาตามอุดมคติของความงามหรือความสมบูรณ์แบบทางร่างกาย สร้างความเชื่อมโยงและสัมพันธ์เป็นเอกลักษณ์ จำกัดความของระยะเวลาช่วงระหว่างการสิ้นพระชนม์ของอเล็กซานเดอร์มหาราช BC-323 หล่อมรวมอิทธิพล คตินิยม-ลัทธินิยม  เป็นแม่แบบลักษณะเฉพาะ และความหมายการแสดงออกถึงความแม่นยำ ทางกายภาพ ถ่ายทอดบุคลิก ซึ่งรวมถึงองค์ประกอบเช่น ต้นพระศรีมหาโพธิ์และรูปเปรียบต่างแทนสาวกสงฆ์ขนาบข้างซ้าย-ขวา สื่อความหมายถึ่งศรัทธาคือความเชื่อสูงสุด

                                       *พระพุทธรูปศิลปะ Hellenistic Native Figurative Tradition & Buddhist Art กริกยุคคลาสสิก+เฮเลนนิสติค องค์แรกในโลก  กับมหาปุริสลักษณะ 32. และโพธิปักขิยธรรม 37,สาวกสงฆ์เปรียบต่างแทนขนาบซ้ายขวา

                                                                                                          มีขนาด  Shrine.Limestone. H = 75 x 62 x 28  cm.

                                         * เศวตศิลาหินแกะสลักเป็นสัญลักษณ์เครื่องหมาย-พระรัตนตรัยเป็นเสมือนอุเทสิกะเจดีย์เพื่อเคารพระลึกนึกถึง *องค์แรกในโลก AD.I-II พ.ศ.๕๐๐-๗๐๐

                                    * องค์ประกอบ Marmoreal Limestone หินแกะสลักเป็นรูปธรรมสัญลักษณ์ สื่อความหมาย "องค์รวมสามรัตนตรัย" ๑.พระพุทธ ๒พระธรรม ๓.พระสงฆ์

*โคตมพุทธเจ้า:  เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยชอบโดยพระองค์เอง

พระพุทธ; คือโคตมพระสัมมาสัมพุทธเเจ้า-ปางปฐมตรัสรู้ธรรมเป็นพระสัมมาสัมโพธิญาณเป็นประจักษ์ อยู่ในพระอิริยาบถ ประทับนั่งบนบัลลังก์, พระหัตถ์ทั้งสองหงายวางซ้อนกันขวาทับซ้าย บนพระเพลา   พระอังคุฐ(นิ้วหัวแม่มือ)ทั้งสองบรรจบประชิดตรงกลาง  พระดัชนี(นิ้วชี้)ขวาทับซ้าย  พระอังคุฐและพระดัชนีประกบกันเป็นลักษณะสามชั้น มีพระพักตร์เบิกบานพระหฤททัยสง่าเป็นเอกัคคตาสงบด้วยญาณ มีพระเศียรงามบริบูรณ์ดุจประดับด้วยกรอบพระพักตร์ อุษณีษะ มวยพระเกษา     รอบพระเศียรมีศิรประภาหรือประภามณฑลรอบ และปรกด้วยศรีมหาโพธิ์-ก้าน -กิ่ง -ใบเสมือนสื่อถึง  "มุขปาฐะ โพธิปักขิยพระธรรม 37 " รูปสาวกสงฆ์ศรีษะโล้นเกลี้ยงต่างแทนขนาปซ้าย-ขวา  เป็นเสมือน"พระสงฆ์ " ครบองค์สาม  คือสรณะเป็นที่พึ่งที่เคารพสูงสุด

*รายระเอียตพระอิริยาบถ: พระพักตร์ดูเด่นเป็นสง่าดุจดั่งเทพผู้ประทานสันติสุขสันติธรรม

* พระอิริยาบถสรีรวรกาย  ท่อนบนเหมือนท่อนบนของราชสีห์บริบูรณ์ (ล่ำพี) ดุจกึ่งท่อนหน้าแห่งพญาราชสีห์  สำรวมอินทรีย์เป็นอย่างดี พระเศียรงามบริบูรณ์ดุจประดับด้วยกรอบ -เส้นพระโลมาที่พระโขนงงอกขึ้น  แล้วล้มราบไปโดยลำ ยาวสุดหางพระเนตร  พระพักตร์เบิกบานพระหฤททัยเป็นเอกัคคตาสงบด้วยปัญญาญาณ พระเนตรและพระกรรณ ดุจดั่งอัปสร พระอุณาโลมผลึกอยู่ระหหว่างพระโขนง พระปรางทั้งสองเปล่งงามประกายเสมอกัน -มีลำพระศอกลมงามเสมอตลอด พระกรทั้งสองงามดุจงวงแห่งเอราวัณเทพยหัตถี  พระนาสิกสูงสันฐานนาสิกงามเเฉลม พระโอษฐ์เบื้องบนเบื้องต่ำบอบบางมิได้เข้าออกกว่ากันเสมอเป็นอันดีมีสันฐานงดงามดุจแย้ม พระเนตร(เปลือตาบนทรงหนาสง่าเป็นมุขปาฐะทรงพลัง  สีหหนุ พระหนุ (คาง) อ่อนนุ่มเหมือนคางราชสีห์(โค้งเหมือนวงพระจันทร์) 

* ผ้าคลุมพระวรกาย (จีวรDrapery) (จีบPleats ) จีวรจีบ ๘เส้น .แนวโค้งรอบพระวรกกาย  พระกรทั้งสองจีบเป็นข้างละ ๘. สื่อความหมายถึงมรรคมีองค์ ๘,  พระเพลาทั้งสองจีบเป็นขวา ๓ จีบ, ซ้าย ๔,จีบ รวมเป็น ๗แนวเส้น  สื่อถึงโพชฌงค์ ๗ 

สร้างด้วยปฏิมากรชาวกริก ตามแม่แบบกริกทดั่งเดิม เป็นไปตามพระราชดำริห์และพระราชประสงค์ของจักรวรรดิกุษาณะทุกขบวนการ

* USHNISHA. เป็นยุคโบราณดั้งเดิมของชาวกริก( Native Figuration Tradition) เป็นลายเส้นพระเกษาล้มราบไปเป็นแนวซ้าย-ขวา ขมวดปลายเข้าด้วยกันตรงกลางคือมณฆลเป็นอารยะพุทธศิลป์ Hellenistic & Buddhist  ตามตำรามหาปุริสลักษณะ ๓๒, และองค์ประกอบโพธิปักขิยธรรม ๓๗, สร้างเป็นแม่แบบ  AD.I-III - ด้านบน Ushnisha รอบพระเศียร คือประภามณฑณภายใต้โพธิปักขิยธรรม มีรัสมีสหชาติโพธิกิ่งก้านใบปรกเป็นประจักษ์ ด้านซ้าย-ขวา เป็นรูปเปรียบองค์ประกอบต่างแทนคือเป็นสาวกสงฆ์ (สัญลักษณ์สาวกศรีษะโล้นเกลี้ยงไม่มี-Ushnisha-บน รวมเป็นครบองค์สาม  สื่อถึง "อุทเทสิกเจดีย์"

พระธรรม: หมายถึง ความจริงที่พระพุทธเจ้าค้นพบคือสัจจะธรรม ชึ่งเป็นความจริงที่มีอยู่แล้ว พระพุทธองค์ไม่ได้ทรงคิดขึ้นเอง แต่พระองค์ทรงค้นพบแล้วนำมาสั่งสอนให้แก่มวลมนุษย์เริ่มต้นจาก โพธิคือสหชาติสถานที่ตรัสรู้บรรลุธรรมเป็นเอกลักษณ์จากมุขปาฐะ(ปากเปล่า  Oral Literature Or Oral Tradition) เป็นคือโพธิปักขิยธรรม 84,000 กิ่ง-ก้านสัญลักษณ์ บ่งบอกความหมายถึงธรรมะหนทางสู่การรู้แจ้ง  (สติปัฐฐาน-อิทธิบาท-สัมมัปปทาน อย่าง๔ รวมเป็น ๑๒, พละ -๕อินทรีย์๕  รวมเป็น ๑๐ โพชโฌงค์ ๗ มรรมีองค์ ๘ รวมเป็น ๑๕ ทั้งหมดรวมกันเป็นคือ  โพธิปักขิยธรรม ๓๗) จดบันทึกเป็นพระไตรปิฎก ๑.พระวินัยปิฏก๒.พระสุดตันตปิฏฏ ๓.พระอภิธรรมปิฏก

*ดูรายระเอียตจากภาพแกะสลัก*

*ตรงใต้ยอดซุ้มประตูมี "โพธิ" กิ่ง-ก้าน-ใบเป็นสัญลักษณ์สื่อถึง "โพธิปักขิยธรรม 37"  โภชฌงค์ ๗, มรรคมีองค์๘ (พระเพลาทรง๗, จีบเส้นหมายถึงโภชฌงค์๗. พระวรกายจีบ ๘, พระกรจีบ ๘ทั้งสองซ้าย-ขวา, เส้นหมายถึงมรรคมีองค์๘)  (กิ่งใบ, ๗ใบ สลับตั้งตรงและดิ่งตรงกลางพระเศียรหมายถึงโพชฌงค์ ๗ ) ก้านซ้าย-ขวา ๑๐,ใบ สื่อถึง พละและอินทรีย์ อย่างละ๕,  ( กิ่งใบ, ๑๒ ใบ,  ซ้าย-ขวาสื่อถึง สติปัฏฐาน๔ ,อิทธิบาท ๔, สัมมัปปธาน ๔,(ซ้าย-ขวา ก้านข้างละ ๗ ใบ ๑๒ เป็นองค์รวมฐาน สติปัฏฐาน  สื่อความหมายแกะสลัก มีรัศมี โค้งงอไปข้างหลังตามโครงรูปรอบพระเศียร ก้านกิ่ง อย่างสมมาตรทั้งสองข้าง เหมือนหรีด บนยอดสลับเสมือนคือใบโพธิ์ศักดิ์สิทธิ์เป็นยอดฉัตร  คือพุทธศิลป์ 

พระธรรม; (คือเป็นต่างแทน เสมือน-โพธิกิ่งก้านใบบ่อเกิดที่มา)  ธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบนั้นคือ" โพธิปักขิยธรรม" เป็นธรรมอันเป็นผักฝ่ายแห่งการตรัสรู้ เป็นสิ่งที่มีอยู่แต่เดิมแล้ว ไม่ได้เกิดขึ้นพร้อมพระพุทธองค์ แต่ทรงเป็นผู้ค้นพบแล้วนำมาประกาศ อาจพอกล่าวได้ว่าการเรียนรู้พระธรรม ก็คือการเรียนรู้ธรรมดาโลก  และเรียนรู้สิ่งที่เป็นปกติที่มีบ่อเกิดที่มาว่ามาอย่างไร เป็นไปได้ย่างไร; รูปต้นพระศรีมหาโพธิ์แผ่ก้าน-ดิ่ง-ใบเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง   "มุขปาฐะ"จากปากต่อปาก จดบันทึกเป็นโพธิปักขิยธรรม สื่อเป็นพระ "ไตรปีฏก" มีองค์ประกอบสาม เช่น ๑.พระวินัยปิฎก ว่าด้วยศีลของภิกษุและ ภิกษุณี-๒.พระสุตตันตปิฎก ว่าด้วยพระธรรม เทศนาทั่วๆ ไป-.๓.พระอภิธรรมปิฎก ว่าด้วยธรรมะที่ เป็นสาระสำคัญ สิ่งที่เกิด เหตุที่เกิด เหตุที่ดับ ต่างแทน บอกกล่าว คือหมายถึง พระธรรมวินัยอันเป็นคำสั่งสอน ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงค้นพบและนำออกเผยแผ่ เป็นไปตามความจริงตามธรรมชาติของทุกข์และวิธีดับทุกข์

พระสงฆ์, หมายถึง สาวกของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติและเผยแผ่ธรรมให้แก่มนุษย์ต่อไป Adorants  (สาวกรูปต่างแทนศรีษะโล้นเกลี้ยงยืนหลังพระเพลา อิริยาบถยืน ก้มน้อมศรีษะคำนับ พนมมือสังวรสำรวม) ขนาบข้างซ้าย-ขวา คือ หมายถึง อริยสงฆ์สาวกหรือหมู่ชนที่น้อมนับ  รับฟังคำกล่าวสอนสั่งอันเป็นสัจจะที่มีอยู่แล้วจริงเป็นธรรมชาติ คือความจริง สะท้อนสิ่งที่มีอยู่จริง รู้แจ้งแห่งทุกข์ รู้บ่อเกิดแห่งทุกข์ รู้วิธีกำจัดบ่อเกิดแห่งทุกข์ รู้แจ้งเห็นชัดปรากฏขึ้นแห่งการเกิด การดำรงอยู่ และมลายศูนย์หายเป็นที่สุด  เป็นจริงมีอยู่จริง และนำไปประพฤติ ปฏิบัติตาม  ให้รู้เห็น เป็นจริง จนได้รับมรรคผลอันเป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่นประจักษ์เป็นพยานรับรู้ด้วยตนเอง  สะท้อนความจริงที่มีอยู่จริง แห่งการกระทำแลัวนำไปบอกกล่าว  คำสอนของพระพุทธเจ้าที่ค้นพบนั้นมีอยู่เป็นจริงคือ คู่กับธรรมชาติตลอดมา   เพียงเป็นผู้ค้นพบ-รู้เหตุแห่งการเกิด-ดำรงอยู่ด้วยเหตุและดับไปเป็นที่สุดด้วยเหตุ และนำมาบอกกล่าวเป็นบริบทแห่งการดำเนินบนเส้นทางแห่งฃีวิต เพื่อนำไปประพฤดีปฏิบัติชอบ ตามพระไตรปิฏก ของพระองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า 

 

เหตุแห่งการเกิดขึ้นของ  " เจดีย์ "  คือประเพณีพุทธศาสนา

พระเจดีย์: คือสิ่งก่อสร้างเป็นอนุสรณ์สถานของโคตมพุทธเจ้าเพื่อเคารพบูชา 

 พระพุทธ รัตนตรัย; อุเทสิกะเจดีย์ต้นแบบ..สร้างขึ้นในปี พุทธศักราช 500-700 โดยพระอัศวโฆษเถระ (ปราชญ์คู่บารมีพระเจ้ากนิษกะในแผ่นดินจักรวรรดิกุษาณะ) กรุงแบคตร้า บริเวณพื้นที่ศูนย์กลางคมนาคม(เส้นแรกของโลก Silk Road)-การปกครอง-การค้า-ศาสนาวัฒธรรม ระหว่างคุ้งสายน้ำต้นกำเนิดเทือกเขา Hissa บรรจบและแยกของแม่น้ำ อมูดาร์ย่า  สร้างเป็นบริวาร "ธรรมเจดีย์ " ภายในขอบเขต"พระเจดีย์"  ด้วยหินเศวตศิลาแกะสลัก ครบองค์สามบริบูรณ์-เพื่อเป็นรูปธรรมศูนย์รวมแห่งความเคารพสักการะสืบทอดพระศาสนาคือไว้ให้เป็น สิ่งเคารพสักการะบูชาของพระพุทธศาสนาสูงสุด..

 ความสำคัญ:  เป็นเสมือน"อุเทสิกะเจดีย์" พระพุทธรูปครบองค์สามบริบูรณ์ประดิษฐานตรงกลางบนระหว่างสองเสาคอรินเทียนประตูทางเข้าสู่ " ธรรมเจดีย์ " สังฆารามฟายาสเทป้า ศูนย์กลางการเผยแผ่  พระพุทธศาสนาและวัฒนธรรม คู่บารมีของจักรวรรดิกุษาณะ(อโศกองค์ที่๒)   เมืองเทอร์เมส จังหวัดสุคันดาร์ย่า  มีอายุราว ๒๐๐๐ กว่าปี  พบครั้งแรก  ค.ศ ๒๐๐๐ 

ประวัติความเป็นมา: พระรัตนตรัย หรือ ไตรรัตน์

เกิดขึ้นครั้งแรก;

สมัยพุทธกาล;   15 ค่ำ เดือน 8 ณ.ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี

โคตมพระพุทธเจ้า: หลังจากตรัสรู้ได้ ๓เดือน ได้ทรงประกาศ พุทธศาสนา โดยการแสดงปฐมเทศนาโปรดปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕.-พราหมณ์โกณฑัญญะ ได้บรรลุธรรมขอบวชเป็นพระอริยภิกษุสงฆ์รูปแรก ครบองค์สามบริบูรณ์ ของพระพุทธศาสนา คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ บังเกิดขึ้นในโลก รวมเป็นคือ-รัตนตรัย

หลังปรินิพพาน; เกิดขึ้น  ณ แผ่นดินอริยกะ ปัจจุบัน จังหวัดสุคันดาร์ย่า ศูนย์กลางทางแบ่งเส้นทางสายไหม Crossroad of the Caravan Route.

* รัตนอุเทสิกะเจดีย์  อุบัตขึ้นในจักรพรรดิกุษาณะของพระเจ้ากนิษกะ   ด้วยศิสป Hellenist & Buddhist Art. AD.I-II หรือ พ.ศ ๕๐๐-๗๐๐

* ประวัติแห่งความเป็นมา;  "พระเจดีย์"

* พระเจดีย์: คือสิ่งก่อสร้างเป็นอนุสรณ์สถานของโคตมพุทธเจ้าเพื่อเคารพบูชา มีอยู่ ๔อย่าง

๑. ธาตุเจดีย์ สิ่งก่อสร้างที่บรรจุพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้า 
๒. บริโภคเจดีย์ สังเวชนียสถาน๔ เช่น สถานที่ประสูติ ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา และปรินิพพาน
๓. ธรรมเจดีย์  ว่าด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า เป็นคำ ประโยคทั้งที่เป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง คัมภีร์พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา
๔. อุทเทสิกเจดีย์ สิ่งของที่สร้างขึ้นอุทิศให้พระพุทธเจ้า เป็นสัญลักษณ์แทนองค์โคตมพระพุทธเจ้า  เช่น พระพุทธรูปปางต่าง ๆ ยืน-เดิน-นั่ง-นอน พระแทนวัชรอาสน์-ศรีมหาโพธิพุทธคยา โดยนัยนี้จะเห็นว่าคือ “เจดีย์” มีความหมายครอบคลุมสิ่งที่ควรบูชาสักการะทุกอย่าง 

*โพธิสามกษัตริย์ทรงเป็นหลักแม่แบบเริ่มต้นสืบทอดพระศาสนา:   ๑. พระเจ้าอโศกมหาราช-อินเดีย ๒.พระเจ้ามิลินทร์-กริซ  ๓.พระเจ้ากนิษกะ-จักรรพรรดิกุษาณะ

พระเจ้าอโศกมหาราช:  ทรงเป็นเอกอัครศาสนูปถัมภ์ที่ยิ่งใหญ่สุดครั้งแรกเริ่ม:

๑.ทำสังคายนาครั้งที่ ๓

๒.ส่งพระธรรมทูตออกเผยแผ่ทั้ง ๑๖ แค้วน

๓.สร้างเสาเป็นสัญลักษณ์ " เสาอโศก" หัวสิงห์สี่ทิศบนยอดเสา เป็นสัญลักษณ์ประจำชาติอินเดียจนปัจจุบีน

เป็นพระมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ในชมพูทวีป อุปถัมภ์ทำสังคายนาครั้งที่ สาม  จัดส่งพระธรรมทูตที่มีความรู้ความชำนาญพระไตรปิฏกออกประกาศเผยแพร่ครบทั้ง๑๖ แค้วนและทรงดำดิสร้างเสาหินเป็นเครืองหมายสัญลักษณ์ มีชื้อว่า "เสาอโศก" และสำคัญสุดคือ "หัวสิงห์บนสุดยอดเสาทั้งสี่ทิศ" เป็นการแกะสลักอันวิจิตร รัฐบาลอินเดียนำมาเป็นสัญลักษณ์ตรา  "แผ่นดิน" จวบจนปัจจุบน ขุดพบที่พาราณีสถานที่แสดงปฐมเทศนา สื่อถึงทั้งสี่ทิศที่ประกาศเผยแผ่ศาสนาของพระองค์เป็นที่ยอมรับปราศจากข้อความสงสัยเป็นสัจจะธรรมเหนือกาลเวลา  และรวมถึงสถูป พระเจดีย์ ธรรมเจดีย์ และอุเทสิกะเจดีย์ เป็นสัญลักษณ์ ประเพณี มาจวบจนปัจจุบันและตลอดไปจบสื้นที่ ๕,๐๐๐ ปี ตามที่ได้ประกาศเป็นพุทธทำนาย 

พระเจ้ามิลินท์ กษัตริย์ อินเดีย-กริซ:

๑.ทรงศรัทธาเลือมใสปวารณาตัวเป็นพุทธมามกะ

๒.ขอบวชเป็นพระภิกษุสงฆ์ และได้บรรลุพระอรหันต์

๓.เริ่มต้นสร้างรูปเหมือนโคตมพุทธเเจ้าหมายถึง "พุทธคุณ "ไว้สืบทอดสานต่อศาสนาเพื่อเป็นที่เคารพรำลึกนึกถึง

เริ่มสร้างพุทธปฏิมากรรมคร้งแรก หลังจากขอบวชเป็นพระภิกษุสงฆ์  เกิดพุทธนิมิตรด้วยปัญญาญาณ สร้างรูปเปรียบเหมือนโคตมพุทธเจ้าเป็น-พระพุทธรูป-ไว้สื่อถึ่ง พุทธคุณ ทั้งสาม พระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ เพื่อสืบทอดพระศาสนาและเคารพบูชา เป็นเอกลักษณ์สัญลักษณ์รูป-โคตมพุทธเจ้า  เป็นพระพุทธรูป-ต่างแทนเป็นอนุสาสนีย์นุสรณ์เพื่อระลึกถึงในจักรพรรดิแบคเตรียของพระองค์ไว้เป็นเิกลักษณ์เครื่องหมาย พระพุทธศาสนาครั้งแรก

 พระเจ้ากนิษกะ: :จักรพรรดิกุษาณะเริ่มต้นเผยแผ่สู่โลกกว้างจีน-เกาหลี่-ญี่ปุ่น

๑.รวมรวมหัวเมืองพุทธเป็นหนึ่งจากปันจาบ-คันธาราช-แบคเทรีย รวมเป็นหนึ่ง คือจักรวรรดิกุษาณะ ( KUSHAN )

๒.ทำสังคายนาครั้งที่ ๔ ปรับแต่งให้เข้ากับสภาวการณ์และเผยแผ่พระศาสนาสู่จีน-เกาหลี่-ญี่ปุ่น

๓.สร้าง " TRIAD BUDDHA "สื่อความหมายถึ่ง พุทธคุณ สามพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ " พระรัตนตรัย" เป็นรูปสัญลักษณ์เอกลักษณ์ เปรียบต่างแทน ไว้ประจำหัวเมืองสำคัญภาคเหนือ ( ปัจจุบันสาธารณรัฐอุซเบกีสถาน)

ทรงเป็นเอกอัครศาสนูปถัมภที่ยิ่งใหญ่องค์ที่สองในพระพุทธศาสนา ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครอบครองแผ่น ทั้งชมพูทวีปและเอเชียกลาง ผู้สร้างรูปเหมือนและรูปต่างแทนเป็นพุทธเจดีย์ ธรรมเจดีย์ อุเทสิกะเจดีย์ เป็นเอกลักษณ์สัญลักษณ์บนเส้นทางคมนาคม สายแรกในโลกตะวันตกเชื่อมตะวันออก ( Silk Road )

 ได้ทรงสร้างสังฆาราม พระธาตุเจดีย์-ธรรมเจดีย์และอุเทสิกะเจดีย์ ไว้ที่ปากอ่าวแม่น้ำ อมูดาร์ย่า ศูนย์กลางการค้า-การปกครอง-คมนาคม ระหว่างตะวันตกกับตะวันออก บรรจบเป็นระหว่างทางแบ่งเส้นทางสายไหม มีชื่อว่า Fayaztepa ปัจจุบัน อยู่ในจังหวัดสุคันดาร์ย่า ทางทิศใต้ของประเทศเขตติดต่อชายแดน อัฟกานิสถานแลพทาจีกีสถาน

เจตนารมณ์การสร้าง: เพื่อเป็นต้นแบบครบองค์สามบริบูรณ์ ของพุทธศาสนาจากรวมสามหัวเมือง- ปันจาบ-คันธาระ-แบคเตรียทั้งสามเข้าเป็นหนึ่ง-จักรวรรดิกุษาณะ-เพื่อไห้เป็นรูปธรรมแห่งสัญลักษณ์ เพื่อเป็นฐานองค์รวมสามแห่งความเชื่อและศรัทธา บนทางแบ่งคมนาคมจากตะวันตกเชื่อมต่อตะวันออกของเส้นทางสายไหม Crossroad of the caravan Route ณ เมืองโบราณเทอร์เมส

   พระพุทธรัตนตรัยหรือ อุเทสิกะเจดีย์ Triad Buddha สร้างเป็นต้นแบบองค์แรกของโลก จัดกลุ่มเทพเจ้ามีองค์สาม เป็นเอกลักษณ์ของเครื่องหมายสัญลักษณ์ ของ ไตรรัตน์อุเทสิกะเจดดีย์  "พระพุทธรัตนะ-พระธรรมรัตนะ-พระสงฆ์รัตนะ ไว้เป็นที่เคารพสักการะพุทธบูชา  Triad had played the key roles in representation of the rulers' success, with significant empathy "Buddha Prayer in Old termez.

-ตำนาน-ประวัติความเป็นมาของพระพุทธรูป ( Iconografic) เป็นเครื่องหมาย ต่างแทนคำสอนเพื่อเป็นที่ระะลึกและเคารพสักการะ สมัยริเริมเดิมแรก เมือพระเจ้า เมนั้นเดอร์ แห่งมาซิโดเนีย (มิลินท์) ประวารณาตัวเป็นพุทธมามกะ พุทธบริษัทและขอบวชเป็นพระภิกษุ ได้สร้างรูปเหมือนเป็นตัวแทนเพื่อเป็นที่ระลึกต่างแทนคำสอนเพื่อเคารพและสักการะที่เมืองหลวงสากล-Skala-ของแค้วน -แบคเทรีย เริ่ม ปี พ.ศ. ๕๐๐ เป็นต้นมา

      มูลเหตุแห่งความเป็นมา:

-โพธิมหากษัตริย์ ๓พระองค์  พระผู้ทรงเป็นปฐมเอกองค์อัครศาสนูปถัมภก พระพุทธศาสนา

 ๑.พระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดีย  ผู้ประกาศตนอุปถัมภ์เผยแพร่รวบรวมคำสอนทำสังคายนาครั้งที่ ๓ และจัดส่งพระธรรมทูตออกเผยแพร่ทั่วทั้ง  ๑๖ แคว้นปกครอง   ๒.พระเจ้ามิลินท์แห่งมาชิโดเนีย กริซ ผู้คือ  Religious Syncritism. Hellenism, Zoroasterism  & Buddhism เป็นหนึ่ง เริ่มสร้างพุทธรูปต่างแทนเป็นที่รำลึกและเคารพ

๓.พระเจ้ากนิษกะ ผู้ประกาศทำสังคายนาครั้งที่ ๔  และเผยแพร่ขยายเข้าสู่จีนและเกาหลี่ญี่ปุ่น-ส่งเสริมสร้างวัด-วิหาร-สถูป-พระพุทธรูปต่างๆ แกะสลักตามหุบเขาและตามถ้ำ เป็นต้นแบบทั้งเอเชียกลาง-ชมพูทวีป-เอเชียใต้-เอเชียตะวันออก พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรื่องสูงสุดจาก พ.ศ ๕๐๐-๑๑๐๐ ประจักรพยานศาสนสถานที่ใหญ่สุดมนุษย์สร้างได้ด้วยศรัทธา คือ: พระพุทธรูปตามหุบเขาบาบียัน -ถ้ำอันชัญต้าแห่งอินเดีย-บูโรพุทโธ แห่งอินโดนีเซีย-นครวัด นครธม แห่งคัมโบเดียและถ้ำต่างในแผ่นดินจีนอีก ๔.. 1. ถ้ำหินมั่วเกา 2. ถ้ำหินหลงเหมิน 3. ถ้ำหินยฺหวินกัง / ถ้ำหินแกะสลักอวิ๋นกัง และ 4. ถ้ำหินม่ายจีซาน  

-พระเจ้ามิลินท์ (Menander) กษัตริย์ กริซ มาชิโดเนีย นายพลคนสนืดพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหหาราช..หลังจากยึดครอง คันธาระและกำโภชะ ก็หยุดไม่รุกต่อเสด็จกลับ Menander มิลินท์ได้อำนาจก็ขยายอาณาเขต สถาปณาเป็นกษัตริย์ครอบครองดินแดน แบคเทรีย-ประกาศโต้วาทีกับพระสงฆ์ชาวพุทธทั่วเขตแค้วนของพระองค์ ไม่มีใครสามรถโต้ตอบทางปรัชญาของพระองค์ต่างโยกย้ายหนีที้งเมืองไป-ครั้งท้ายสุดทราบว่ามีพระหนุ่มนามว่า "นาคเสน"

-ผู้ปราชญ์ด้วยปัญญาญาณ- ก็ได้ให้ อำมาตร์มาเชิญเข้าสนทนาธรรม ผลปรากฏว่า...ย่อมรับในหลักการพุทธปรัชญา แล้วก็ปวารณาตัวเป็นพุทธมานกะ ผนวชเป็นพระภิกษุสงฆ์ บำเพ็ญเพียรจนสำเร็จอรหันต์ พระเจ้า มิลินท์ ได้คิดริเริ่มสร้างพุทธรูปต่างแทนคำสอนเป็นรูปลักษณ์ เพื่อระลึกถึงเคารพบูชา  พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาประจำอาณาจักรของพระองค์ ได้สร้างสันติสุข นำความเจริญรุ้งเรืองมาสู่อาณาประชาราษฏร์

                      (ต้นแบบสังฆาราม: แบ่งเป็นสองส่วน ๑. ที่พักสงฆ์ ห้องปฏิบัติศาสนกิจ-โรงครัว-หอฉันส่วนที่ ๒.สร้างที่ประดิษฐานศาสนที่สำคัญสถูปธรรมเจดีย์ เป็นส่วนรวมเคารพสักการะพุทธบริษัท)

๓.พระเจ้ากนิษกะ   ผู้ครองอำนาจสืบสานอุปถัมภกพระพุทธศาสนาจาก พระเจ้ามิลินท์ แห่ง Bactria ขยายเป็นอาณาจักร กุษาณะ Kushan  อุปถัมภ์ค้ำชูพระพุทธศานา ทำสังคายนาครั้งที่ ๔ เผยแผ่คำสอนเข้าสู่แผ่นดินจีน พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรื่องทั่วชมพูทวิป สร้าง สังฆารามเป็นต้นแบบจากคันธาระ ส่งเสริมพุทธศิลงานสร้างและแกะสลักพุทธปฏิมาตามถ้ำและหุบเขาต่างๆ เช่น  บาบิยัน-เอเชียกลาง-เอเชียใต้ บูโรพุทธโธ-นครวัดนครธม-ถ้ำต่าง ๆ เกือบทั่วแผ่นดินจีน

     เท้าความเป็นมา " รัตนตรัย "

-รัตนตรัย  Triad: เป็นกลุ่มเทพเจ้าองค์ ๓ สืบทอดสานต่อกันมา หลากหลายอารยธรรมของโลกทั้งตะวันตกและตะวันออกออก มาเป็นหลายพันๆ ปี จากตำราพระเวท ฯ เช่นพราหมณ์: มีพระพุทธ-พระอินทร์-พระพรหม.  ฮินดู มี -รัตนตรัย (ตรีมูรติ) -พระพรหม-พระวิษณุ-พระศิวะ ส่วนพุทธศาสนาต้นแบบบังเกิดครบองค์สามวันปฐมเทศสนา พระอัญญาโกณทัญญะสำเร็จพระอรหันต์  " พระรัตนตรัย" บังเกิดขึ้นเป็นครั้งแรก  มีพระพุทธรัตนะ-พระธรรมรัตนะ-พระสงฆรัตน ผู้ให้กำเนิดเกิดขึ้นคือ โคตมพุทธเจ้า  ๑.คือผู้บรรลุธรรมอันเป็นสัจจะ-๒.มีคำสอนเป็นบริบทกฏเกณฑ์เป็นสัจจะ-๓.มีผู้ปฏิบัติได้รับมรรคผลเห็นเป็นจริงเป็นสัจจะ- รวมเรียกเป็น " พระรัตนตรัย เป็นองค์สามรวม

-มหาหยาน:  มีพระศากยมุนี-พระอวโลกิเตศวร-พระศรีอริยเมตตรัย   วัชชรยาย: ก็เช่นกัน: ต่างชื่อ สื่อความหมายเหมือนกัน ฯ

-พระรัตนตรัย:  เป็นเครืองหมายของพระพุทธศาสนา  มีเจ้าชายสิทธัตถเป็นผู้ให้อุบัติขึ้น ด้วยหลัก สามประการ -การจุติประสูติเกิดขึ้นแล้วออกบวชบำเพ็ญเพียรหาทางหลุดพ้นจากกองทุกข์-ตรัสรู้ธรรมรู้สิ่งที่เกิด-รู้เหตุแห่งการเกิด รู้วิถีทางปฏิบัติ-รู้แนวทางอบรมสั่งสอน- ทั้งสามประการนี้ คือ-รัตน- สิ่งดีงามสามประการมนุษย์ควรรู้เห็นเป็นจริง เป็นประจักรพยานให้ตัวเองเรียกว่า.แก้ว-สามประการ: อุบัติขึ้นโดย : โคตมพระพุทธเจ้า

-วันวิสาขาบูชา Visak day: ประสูติ-ตรัสรู้-ปรินิพพาน เป็นวันสำคัญของโลกอุบัติขึ้น ต่างแทนเป็น -รัตนตรัย

ที่ยกย่องให้มนุษย์ชาติควรรู้ ควรดู ควรเห็นและนำไปปฏิบัติ ให้เกิดการรำลึก-นึกถึงเป็นแนวทาง ชี้นำทางจากเหตุและปัจจัยให้เกิดความทะเยอทยาน อยาก-ละ-ลด-เลิก-ให้วางและว่างเป็นที่สุด เพื่อหลุดพ้นจากกองทุกข์ทั้งสามประการ คือโลภ-โกรธ-หลง สำนึกและรวมกันเรียกว่า เป็นวัน วิสาขบูชา: วัน " รัตนตรัย "

-สมัยพุทธกาล: พระเจ้าพิมพิสารเจ้าเมือง แห่งกรุงราชคฤห์ ส่งราชบรรณาการ พร้อมด้วยธรรมบรรณาการ คือพระราชสาสน์ ต่อพระเจ้า ปุกกุสาติ เจ้าเมืองคันธาระแห่ง นครกรุงตักกสิลา: ประมาณค่ามิได้ คือข่าวอุบัติขึ้นในโลก: พระพุทธรัตนะ- พระธรรมรัตนะ- และพระสังฆรัตนะ ทรงสรรเสริญคุณของ-พระรัตนตรัย-โดยเอกปริยาย

     ประวัติศาสตร์การสร้างพระพุทธรัตนตรัยต้นแบบ:

     (บทวิเคราะห์: Research )

การริเริ่มสร้างพระพุทธรูปครั้งแรกขึ้นในโลก อยู่ในสมัยพระเจ้า เมนั้นเดอร์ ( มิลินท์ ) กษัตริย์แห่งมาซิโดเนีย กรีซ ผนวชเป็นพระภิกษุสงฆ์ในบวรพุทธศาสนาสร้างเพื่อเป็นสิ่งรำลึกนึกถึงและเคารพกราบสักการะเป็นต่างแทนคำสอน  ที่ศูนย์กลางการปกครอง อาณาจักร แบคเทรีย Bactria ราวปี พ.ศ.๕๐๐  เป็นต้นมา มีรูปแบบหลากหลายทุกปาง ๆตามอิริยาบด- ยืน-เดิน นอน โดยช่างสกุลศิลป คันธาระผสมผสานศิลป เฮเลนนิส กรีซ รูปลักษณ์บ่งบอกแสดงออกคล้ายเทพยุโรปเป็นส่วนมากตามที่ปรากฏฯ

 ที่มาที่ไปการสร้าง"พระรัตนตรัย"  Triad Buddha ที่ สังฆารามฟายาสมหาวิหาร.จ.สุคันดาร์ย่า ศูนย์กลางมหาทวีป สาธารณรัฐ อุซเบกิสถานปัจุบันฯ 

กษัตริย์ ผู้ทรงอำนาจอุปถัมภ์พุทธศาสนาต่อ คือพระเจ้า กนิษกะ สืบทอดจากอาณาจักร แบคเทรีย เป็น อาณาจักรกุษาณะปกครองโดยใช้หลักธรรมิสกเป็นต้นแบบนำทางเผยแพร่สันติสุขสันติธรรม     สร้างอนุสาสนีย์สถาน- วัด-โบสถ์-วิหารเป็นสัญลักษณ์เครืองหมายเด่นชัดและทำสังฆายนาครั้งที่ ๔ จดบันทึกเป็นภาษา สันกฤตในพระไตรปีฎกครั้งแรกประติมากรรม"พุทธรูป"ต่างแทนพระองค์ และคำสอน เป็นที่เคารพสักการะ

 

พระรัตนตรัย, เป็นที่พึ่งที่ระลึกเคารพสักการะสูงสุด

Digital World: 21,Century  Suite to the words.  IMMORTAL-TRIAD OF THE  PHRA RATANA TRI

1.Solidarity:  unity or agreement of feeling or action, especially among individuals with a common interest; mutual support within a group

 2.Harmony :  pleasing or suitable arrangement of parts 

3.Peacefully:  Anything you do peacefully has a sense of gentleness and serenity about it, 

พระรัตนตรัย เป็นที่พึ่งที่ระลึกเคารพสักการะสูงสุด ไม่มีอะไรเสมอเหมือน อีกแล้ว ฯ

 

Visitors: 5,708